0-2727-3138 - 43, 0-2727-3162 National Institute of Development Administration (NIDA)

          TH   EN

Asst. Prof. Dr. Tewich Sawetaiyaram

 

  Home / Asst. Prof. Dr. Tewich Sawetaiyaram

Asst. Prof. Dr. Tewich Sawetaiyaram

ผศ.ดร. เตวิช เสวตไอยาราม

Email: sawetaiyaramtewich@gmail.com


การศึกษา:

การศึกษา

  • ศิลปศาสตรบัณฑิต (ภาษาญี่ปุ่น) (เกียรตินิยมอันดับ 1) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • Master of Arts (Japanese Language and Culture), Nagoya University, Japan
  • Ph.D. Japanese Language and Culture, Nagoya University, Japan

  • ความสัมพันธ์ระหว่างภาษาญี่ปุ่นกับสังคมและวัฒนธรรม
  • การเรียนรู้ภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาที่สองของผู้เรียนชาวไทย
  • Japanese Interlanguage Pragmatics
  • Japanese-Thai Translation
  • การสอนภาษาญี่ปุ่นและภาษาไทย
  • งานวิจัยที่เกี่ยวกับสังคมศาสตร์ เช่น แรงจูงใจ ความพึงพอใจในการทำงาน และการสื่อสาร เป็นต้น
  • 2563 รองคณบดีฝ่ายบริหาร คณะภาษาและการสื่อสาร
  • 2560 ผู้อำนวยการศูนย์พัฒนาและบริการด้านภาษาและการสื่อสาร
  • 2560 รองคณบดีฝ่ายวิชาการ คณะภาษาและการสื่อสาร
  • 2553 อาจารย์ประจำคณะภาษาและการสื่อสาร

ผลงานวิจัย

  • อมรรัตน์  มะโนบาล และ เตวิช  เสวตไอยาราม. (2560). การศึกษาความวิตกกังวลในการเรียนรู้ภาษาญี่ปุ่นของผู้เรียนระดับต้นที่มีพื้นฐานภาษา ญี่ปุ่นแตกต่างกันเรียนอยู่ในชั้นเรียนเดียวกัน. กรุงเทพมหานครวารสารเครือข่ายญี่ปุ่นศึกษา Vol.7 No.1 (มิถุนายน 2560) หน้า 33-50
  • สุชิรา ฤทธิวงศ์. และ เตวิช  เสวตไอยาราม. (2016). การแสดงความไม่เห็นด้วยของประธานบริษัทชาวญี่ปุ่น. กรุงเทพมหานคร: NIDA Journal of Language and Communication, Volume 21 Issue 29, 21-36
  • เตวิช  เสวตไอยาราม. (2559). กลยุทธ์การอ่านของผู้เรียนภาษาญี่ปุ่นชาวไทยที่มีความสามารถต่างกัน. กรุงเทพมหานคร: วารสารญี่ปุ่นศึกษา ปีที่ 33 เล่มที่ 2 หน้า 59-78
  • เตวิช  เสวตไอยาราม. (2013). การวิจัยรูปถูกกระทำในการวิจัยเชิงระยะยาวของผู้เรียนอยู่ต่างประเทศ. Japan: เอกสารหลังการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ การเรียนรู้ภาษาที่สอง (JASLA) “การเรียนรู้ภาษาที่สองในอนาคตเพื่อมุ่งสู่การพัฒนาการวิจัยระดับนานาชาติ” วันที่ 14-15 ธันวาคม 2556, มหาวิทยาลัยฮิโรชิมา เมืองฮิโรชิมาประเทศญี่ปุ่น หน้า 107-108
  • サウェットアイヤラム・テーウィット.(2013)日本語レベルの低いタイ人学習者における場所格「に」と「で」の習得-学習者の助詞選択ストラテジーに注目して-,第二回国際シンポジウム紀要,pp.84-92. (International conference proceeding at Hanoi University, Vietnam)
  • เตวิช  เสวตไอยาราม. (2555).  Effects of Verb Categories, Language Proficiency Level  and Textbook Roles on the Acquisition of Japanese Imperfective Aspect Marker –te I ru. กรุงเทพ: วารสารญี่ปุ่นศึกษา ปีที่ 29 ฉบับพิเศษ เมษายน 2558 หน้า 102-119
  • เตวิช  เสวตไอยาราม. (2554). งานวิจัยด้านการเรียนการสอนภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาที่สองในประเทศไทย อดีต ปัจจุบันและอนาคต.  ปัตตานี: รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติเครือข่ายญี่ปุ่นศึกษาในประเทศไทย ครั้งที่ 5 หัวข้อเรื่อง ญี่ปุ่นศึกษากับการพัฒนาที่ยั่งยืน, คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, 20-21 ตุลาคม 2554 หน้า 41-54
  • Sawetaiyaram, T. (2012).  The Effects of “Verb Ending Forms” on the Acquisition of the Jap0anese Plain (dictionary) Form by Thai Learners. Bangkok: Proceedings of The 4th International Conference on Language and Communication “Current Issues and Future Directions in Media, Communication and Language”. December, 13-14 2012, 321-333
  • Sawetaiyaram, T. (2010). The acquisition of connective expressions in Japanese: The case of Thai-speaking learners. Bangkok: Proceedings of The 2nd International Conference on Language and Communication “Dynamism of Language and communication in Society”, August 5-6, 2010,249-257

บทความทางวิชาการ

ที่ปรึกษา

  • 07 มิถุนายน 2560, กรรมการสอบวิทยานิพนธ์เรื่อง"การศึกษาการใช้แผนผังเชื่อมโยงคันจิในการเรียนการสอนคันจิของผู้เรียนชาวไทยในระดับชั้นกลางตอนต้น", ห้องประชุม ศศ.217 อาคารคณะศิลปศาสตร์ ท่าพระจันทร์ (เป็นกรรมการ/ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ภายนอก)
  • 03 พฤษภาคม 2560, กาารสอนตัวอักษรคาตาคานะ กรณีศึกษา นักเรียนชาวไทยที่กำลังศึกษาอยู่ในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย, คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (เป็นกรรมการ/ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ภายนอก)
  • 24 กันยายน 2559, แลกเปลี่ยนความรู้ทางวิชาการเกี่ยวกับเรื่องญี่ปุ่นศึกษาในงาน Thammasat University-Tohoku University 2016 "International Symposium for Japanese Studies", ห้อง ศศ.307 คณะศิลปศาสตร์ ท่าพระจันทร์ (เป็นกรรมการ/ที่ปรึกษาวิชาชีพ)
  • 05 พฤศจิกายน 2558, นำเสนอร่างวิทยานิพนธ์ หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาตะวันออก ประจำปีการศึกษา 2558, ห้องประชุม 1 ชั้น 3 อาคารมนุษยศาสตร์ 2 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (การให้คำปรึกษาทางวิชาการ)

อบรม/เป็นวิทยากร

  • 23 - 24 พฤศจิกายน 2560, การประชุมวิชาการระดับชาติสมาคมญี่ปุ่นศึกษาแห่งประเทศไทยครั้งที่ 11 ในหัวข้อ Japan s Education... Right, คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ผู้พิจารณา/ประเมิน บทความวิชาการ)
  • 21 กันยายน - 24 ตุลาคม 2560, การประชุมวิชาการระดับชาติสมาคมญี่ปุ่นศึกษาแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 11 หัวข้อ การศึกษาญี่ปุ่นฦ...สิทธิ? ความถูกต้อง? เลี้ยวขวา? , มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ผู้พิจารณา/ประเมิน บทความวิชาการ)
  • 27 มิถุนายน - 14 กรกฏาคม 2560, การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านชีวะสังคมกับแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ทางการเรียนของนิสิตหลักสูตรวิชาภาษาญี่ปุ่น คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ, คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ (ผู้พิจารณา/ประเมิน บทความวิชาการ)
  • 03 มิถุนายน 2560, สอนไวยากรณ์อย่างไรให้ใช้เป็น, ห้องประชุมเจแปนฟาวน์เดชั่น กรุงเทพฯ (เป็นวิทยากร)
  • 11 เมษายน - 04 พฤษภาคม 2560, สภาพปัญหาและการปรับตัวของผู้สอนภาษาญี่ปุ่นรีะดับอุดมศึกษาในจังหวัดชายแดนใต้, คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ (ผู้พิจารณา/ประเมิน บทความวิชาการ)
  • 01 - 14 ธันวาคม 2559, ประเมินบทความวิชาการวารสารเครือข่ายญี่ปุ่นศึกษา ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 ประจำปี 2559 , (ผู้พิจารณา/ประเมิน บทความวิชาการ)
  • 05 - 21 กันยายน 2559, ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินบทความวิจัย , กองบรรณาธิการวารสารวิชาการการท่องเที่ยวไทยนานาชาติ (ผู้พิจารณา/ประเมิน บทความวิชาการ)
  • 05 - 10 กันยายน 2559, ผู้ประเมินบทความวิชาการวารสารวิชาการการท่องเที่ยวไทยนานาชาติ, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (ผู้พิจารณา/ประเมิน บทความวิชาการ)
  • 01 มิถุนายน 2559, วารสารเครือข่ายญี่ปุ่นศึกษา, วารสารเครือข่ายญี่ปุ่นศึกษา (ผู้พิจารณา/ประเมิน บทความวิชาการ)
  • 17 - 18 ธันวาคม 2558, ผู้พิจารณาบทความในงานการประชุมวิชาการระดับชาติญี่ปุ่นศึกษาในประเทศไทย ครั้งที่ 9 , โรงแรมเซ็นทาราหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา (ผู้พิจารณา/ประเมิน บทความวิชาการ)
  • 01 ตุลาคม - 31 ธันวาคม 2558, การประชุมวิชาการระดับชาติ ญี่ปุ่นศึกษาในประเทศไทย ครั้งที่ 9, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี (ผู้พิจารณา/ประเมิน บทความวิชาการ)
  • 23 เมษายน 2557, วิทยากรพิเศษบรรยายเรื่อง "ไวยากรณ์", ฝ่ายภาษาญี่ปุ่น เจแปนฟาวน์เดชั่น กรุงเทพฯ (เป็นวิทยากร)
  • 10 มีนาคม 2557, บรรยายพิเศษ "การเลือกหัวข้อการวิจัยและเครื่องมือวิจัย" ให้แก่นักศึกษาปริญญาโท สาขาวิชาญี่ปุ่นศึกษา, ห้องบรรยาย ศศ.319 ตึกคณะศิลปศาสตร์ ท่าพระจันทร์ (จัดประชุม อบรม สัมมนา บรรยาย)
  • 27 พฤษภาคม - 05 สิงหาคม 2555, ไวยากณ์ญี่ปุนระดับกลางและระดับสูง, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (จัดประชุม อบรม สัมมนา บรรยาย)
  • 27 พฤษภาคม - 05 มีนาคม 2555, ไวยากรณ์ภาษาญี่ปุ่นเพื่อการสอบวัดระดับ 3, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (จัดประชุม อบรม สัมมนา บรรยาย)
  • 12 กันยายน 2554, วิทยากรในโครงการสัมมนา "ข้อควรระวังในการเก็บข้อมูลการวิจัยหัวข้อการเรียนรู้ภาษาที่สอง", ห้อง 603 อาคารคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ (เป็นวิทยากร)
  • 12 มิถุนายน 2554, เสวนาวิชาการ "การทำงานวิจัย ค้นคว้าอิสระ และวิทยานิพนธ์", ห้อง 806 อาคารสยามบรมราชกุมารี (จัดประชุม อบรม สัมมนา บรรยาย)

อื่น ๆ

  • 09 - 12 มกราคม 2561, โครงการ แผนงานวิจัยเรื่องข้อเสนอเชิงนโยบายในการพัฒนาปรับตำแหน่งภาพลักษณ์การท่องเที่ยวพื้นที่มรดกโลกของไทยในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียนและอาเซียนพลัสตามกรอบประเทศไทย 4.0 อย่างยั่งยืน, จังหวัดสุโขทัย (อื่นๆ)
  • 16 ธันวาคม 2559, กรรมการสอบเค้าโครงวิทยานิพนธ์ นักศึกษาปริญญาโท สาขาวิชาญี่ปุ่นศึกษา , ตึกคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ (การทดสอบ ตรวจสอบ รับรองมาตรฐาน)
  • 15 พฤศจิกายน 2559, ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาตำรา ภาษาญ๊่ปุ่น 1, มหาวิทยาลัยพายัพ (การทดสอบ ตรวจสอบ รับรองมาตรฐาน)
  • 30 - 20 ตุลาคม 2559, ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสาร jsn Journal, สมาคมญี่ปุ่นศึกษาแห่งประเทศไทย (การทดสอบ ตรวจสอบ รับรองมาตรฐาน)
  • 27 มิถุนายน 2559, ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือการวิจัย เรื่อง การถ่ายโอนทางวัจนปฏิบัติศาสตร์ในการแสดงความไม่พอใจของผู้เรียนภาษาญี่ปุ่นชาวไทย, คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ (การทดสอบ ตรวจสอบ รับรองมาตรฐาน)
  • 09 มีนาคม 2559, นำเสนอร่างวิทยานิพนธ์หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาตะวันออก ประจำปีการศึกษา 2558, ห้องประชุม 1 ชั้น 3 อาคารมนุษยศาสตร์ 2 (การทดสอบ ตรวจสอบ รับรองมาตรฐาน)
  • 25 กุมภาพันธ์ 2559, เค้าโครงวิทยานิพนธ์เรื่อง การศึกษาการเรียนคันจิของผู้เรียนชาวไทยโดยใช้วิธีแผนผังคำศัพท์, ห้องประชุม ศศ.217 อาคารคณะศิลปศาสตร์ ท่าพระจันทร์ (การทดสอบ ตรวจสอบ รับรองมาตรฐาน)
  • 30 พฤศจิกายน - 14 ธันวาคม 2558, ผู้เชี่ยวชาญอ่านโครงการวิจัย เรื่อง การศึกษาเปรียบเทียบระบบ "ราก" ของอักษรคันจิกับอักษรจีน (A Comparative Study of Radical System in Kanji and Chinese Characters), มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย (การทดสอบ ตรวจสอบ รับรองมาตรฐาน)
  • 13 สิงหาคม 2558, ตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับหลักสูตร ประจำปีการศึกษา 2557, ห้อง 404 ปฏิบัติการวิจัยและประกันคุณภาพ ชั้นสี่ อาคารมนุษยศาสตร์ 2 คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (การทดสอบ ตรวจสอบ รับรองมาตรฐาน)
  • 21 พฤศจิกายน 2557, กรรมการตัดสินการแข่งขันในงาน RSU Japanese Fair 2014, ห้องประชุม 1-301 อาคารอาทิตย์ อุไรรัตน์ (การทดสอบ ตรวจสอบ รับรองมาตรฐาน)
  • 22 พฤศจิกายน 2556, กรรมการตัดสินการแข่งขันในงาน RSU Japanese Fair 2013 , คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต (การทดสอบ ตรวจสอบ รับรองมาตรฐาน)
  • 17 สิงหาคม 2555, กรรมการตัดสินการประกวดความสามารถของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในการเล่านิทานภาษาญี่ปุ่น, ห้องประชุมศิริภัสราภรณ์ สำนักการศึกษา เขตคลองสาน (การทดสอบ ตรวจสอบ รับรองมาตรฐาน)
  • 29 กุมภาพันธ์ 2555, กรรมการสอบวิทยานิพนธ์ "การเปรียบเทียบกลยุทธ์การเรียนคันจิของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย" นักศึกษาปริญญาโท สาขาวิชาญี่ปุ่นศึกษา คณะศิลปศาสตร์, ห้องประชุม ศศ.307 ตึกคณะศิลปศาสตร์ (การทดสอบ ตรวจสอบ รับรองมาตรฐาน)
  • 30 มิถุนายน - 13 กรกฏาคม 2554, ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความ เรื่อง "ความเชื่อและกลยุทธ์การเรียนรู้ของนิสิตเอกภาษาญ๊่ปุ่นชาวไทย" ในการประชุมวิชาการระดับชาติ "มนุษยศาสตร์ในทศวรรษใหม่: พลวัตแห่งองค์ความรู้กับพหุลักษณ์ทางวัฒนธรรม", คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (การทดสอบ ตรวจสอบ รับรองมาตรฐาน)
Copyright © School of Language and Communication 2019